สื่อสำหรับเด็กปฐมวัย
ความหมายของสื่อการเรียนการสอน
-ทำให้สิ่งที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม
-ได้รบประสบการณ์ตรง จำได้นาน
-รวดเร็ว เพลิดเพลิน เข้าใจง่าย
ลักษณะสื่อที่ดี
-ต้องมีความปลอดภัย
-ประโยชน์ที่เด็กได้รับเหมาะสม
กับความสามารถของเด็กๆ ความสนใจ
-ประหยัด
-ประสิทธิภาพ
หลักการเลือกสื่อ
-คุณภาพดี
-เด็กเข้าใจง่าย
-เหมาะสมกับวัย
-เหมาะสมกับเวลาที่ใช้
-เด็กได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม
-ถูกต้องตามเนื้อหา ทันสมัย
-เด็กได้คิดเป็นทำเป็น กล้าแสดงออก
-เลือกให้เหมาะสมกับศูนย์
การประเมินการใช้สื่อ
(พิจารณาจากครูผู้ใช้สื่อเด็กและสื่อ)
-สื่อช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้เพียงใด
-เด็กชอบสื่อชนิดนั้นเพียงใด
-สื่อช่วยให้สอนตรงกับจุกประสงค์หรือไม่
ถูกต้องตามเนื้อหา ทันสมัย
เกมการศึกษา คืออะไร
เป็นกิจกรรมการเล่นที่เป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาด้านสติปัญญา
เป็นการเล่นที่ช่วยให้ผู้เล่นเป็นผู้มีความสังเกตดี ช่วยให้มองเห็นได้ ได้ฟัง
หรือคิดอย่างรวดเร็ว หรืออาจกล่าวว่าเกมการศึกษาหมายถึง
เกมที่เน้นกิจกรรมการเล่นโดยมีครูและกติกาที่ช่วยพัฒนาความคิด
เป็นพื้นฐานสำคัญของการเตรียมความพร้อมให้เกิดการเรียนรู้ด้วยความสนุกสนาน
มีจุดมุ่งหมายเฉพาะดังนี้
- เพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับการเล่นเกมประเภทสองมิติ
- เพื่อพัฒนาความสามารถที่จะอธิบายความแตกต่างของเกมในเรื่องสี รูปร่าง ขนาด
- เพื่อพัฒนาความสามารถในกการบอกลักษณะของสิ่งของซึ่งอาจเป็นนามธรรม
- เพื่อพัฒนาความสามารถในการจดจำคุณสมบัติ โดยนำมาวางในตาราง
- ฝึกการสังเกตและจำแนกด้วยสายตา
- ฝึกการคิดหาเหตุผล
- ฝึกการตัดสินใจ
วันอังคารที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
วันพฤหัสบดีที่8กรกฎาคม2553ครั้งที่4
การแบ่งประเภทของสื่อ
-จัดตามระดับประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ที่ได้รับจากสื่อ
-ตามลักษณะของสื่อและวิธีการใช้งาน
แนวคิดของเอ็ดการ์ เดล (Edgar Dale)
ประกอบด้วยกรวยประสบการณ์ 11 กลุ่ม
1.ประสบการณ์ตรง
เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นรูปธรรมมากที่สุด
โดยการให้นักเรียนได้รับประสบการณ์โดยตรง
จากของจริง สถานการณ์จริงหรือด้วยการกระทำ
ของตนเอง เช่น การจับต้องและการมองเห็น เป็นต้น
2.ประสบการณ์รอง
เป็นการเรียนรู้โดยการให้ผู้เรียนเรียนจากสิ่งที่ใกล้เคียง
ความเป็นจริงที่สุด ซึ่งอาจเป็นของจำลองหรือ
สถานการณ์จำลองก็ได้
3.ประสบการณ์นาฏการหรือการแสดง
เป็นการแสดงบทบาทสมมติหรือการแสดงละครเพื่อ
เป็นการจัดประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนในเรื่องที่มีข้อ
จำกัดด้วย ยุคสมัยและสถานที่
4.การสาธิต
เป็นการแสดงหรือกระทำประกอบคำอธิบาย
เพื่อให้เห็นลำดับขั้นตอนของการกระทำนั้น
5.การศึกษานอกสถานที่
เป็นการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ต่างๆ
ภายนอกสถานที่เรียนอาจเป็นการท่องเที่ยว
การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
6.นิทรรศการ
เป็นการจัดแสดงสิ่งของต่างๆการจัดป้ายนิเทศ
เพื่อให้เกิดสาระประโยชน์และความรู้แก่ผู้ชม
7.โทรทัศน์
โดยใช้โทรทัศน์การศึกษาและโทรทัศน์เพื่อ
การเรียนการสอน เพื่อให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้เรียน
ที่อยู่ในห้องหรืออยู่ทางบ้าน
8.ภาพยนตร์
เป็นภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์
ลงบนฟิล์มเพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ทั้งภาพและเสียง
9.การบันทึกเสียง วิทยุ ภาพนิ่ง
เป็นได้ทั้งรูปของแผ่น เสียงหรือเทปบันทึกเสียง
ส่วนภาพนิ่งอาจจะเป็นเสียง
10.ทัศนสัญลักษณ์
เช่น แผนที่ แผนสถิติหรือเครื่องหมายต่างๆ
สิ่งที่เป็นสัญลักษณ์
11.วจนสัญลักษณ์
เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นนามธรรมมากที่สุด ได้แก่
ตัวหนังสือในภาษาเขียนและเสียงในคำพูดภาษาพูด
-จัดตามระดับประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ที่ได้รับจากสื่อ
-ตามลักษณะของสื่อและวิธีการใช้งาน
แนวคิดของเอ็ดการ์ เดล (Edgar Dale)
ประกอบด้วยกรวยประสบการณ์ 11 กลุ่ม
1.ประสบการณ์ตรง
เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นรูปธรรมมากที่สุด
โดยการให้นักเรียนได้รับประสบการณ์โดยตรง
จากของจริง สถานการณ์จริงหรือด้วยการกระทำ
ของตนเอง เช่น การจับต้องและการมองเห็น เป็นต้น
2.ประสบการณ์รอง
เป็นการเรียนรู้โดยการให้ผู้เรียนเรียนจากสิ่งที่ใกล้เคียง
ความเป็นจริงที่สุด ซึ่งอาจเป็นของจำลองหรือ
สถานการณ์จำลองก็ได้
3.ประสบการณ์นาฏการหรือการแสดง
เป็นการแสดงบทบาทสมมติหรือการแสดงละครเพื่อ
เป็นการจัดประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนในเรื่องที่มีข้อ
จำกัดด้วย ยุคสมัยและสถานที่
4.การสาธิต
เป็นการแสดงหรือกระทำประกอบคำอธิบาย
เพื่อให้เห็นลำดับขั้นตอนของการกระทำนั้น
5.การศึกษานอกสถานที่
เป็นการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ต่างๆ
ภายนอกสถานที่เรียนอาจเป็นการท่องเที่ยว
การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
6.นิทรรศการ
เป็นการจัดแสดงสิ่งของต่างๆการจัดป้ายนิเทศ
เพื่อให้เกิดสาระประโยชน์และความรู้แก่ผู้ชม
7.โทรทัศน์
โดยใช้โทรทัศน์การศึกษาและโทรทัศน์เพื่อ
การเรียนการสอน เพื่อให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้เรียน
ที่อยู่ในห้องหรืออยู่ทางบ้าน
8.ภาพยนตร์
เป็นภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์
ลงบนฟิล์มเพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ทั้งภาพและเสียง
9.การบันทึกเสียง วิทยุ ภาพนิ่ง
เป็นได้ทั้งรูปของแผ่น เสียงหรือเทปบันทึกเสียง
ส่วนภาพนิ่งอาจจะเป็นเสียง
10.ทัศนสัญลักษณ์
เช่น แผนที่ แผนสถิติหรือเครื่องหมายต่างๆ
สิ่งที่เป็นสัญลักษณ์
11.วจนสัญลักษณ์
เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นนามธรรมมากที่สุด ได้แก่
ตัวหนังสือในภาษาเขียนและเสียงในคำพูดภาษาพูด
วันพฤหัสบดีที่1กรกฎาคม2553ครั้งที่ 3
สื่อ
หมายถึงอุปกรณ์ต่างๆที่เป็นวัสดุ เครื่องมือหรือกิจกรรม
ที่ครูเลือกมาและวางแผนใช้รวมเข้ไปในเนื้อหาของหลักสูตรวิชาต่างๆ
อย่างเหมาะสมกับความต้องการ ระดับชั้นสติปัญญา และความสามารถ
ของนักศึกษาเพื่อให้กระบวนการการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สื่อการเรียนการสอน
หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่เป็นส่วนของเทคโนโลยีการศึกษา เป็นพาหะที่จะนำสาร
หรือความรู้ไปยังผู้เรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ เช่น วิดีทัศน์เป็นสื่อการสอน
สื่อการเรียน
หมายถึง ทุกอย่างทุกอย่างที่อยู่รอบตัวไม่ว่าวัสดุ อุปกรณ์และเทคนิควิธีต่างๆ
ที่ผู้สอนและผู้เรียนนำมาใช้ในการเรียน
คุณค่าสื่อ
-ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนได้เร็วขึ้น
-ช่วยให้สนใจบทเรียนและใช้ประสาทสัมผัสในการรับรู้ได้
-เข้าใจเนื้อหาบทเรียนที่ยุ่งยากซับซ้อนได้ง่ายขึ้น
-ให้ประสบการณ์รูปธรรมแก่ผู้เรียน และเกิดความประทับใจ
-ช่วยในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ สามารถนำประสบการณ์เดิมไปสัมพันธ์กับสิ่งใหม่ได้ต่อเนื่องกัน
-ส่งเสริมความคิด แก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์
-ช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนมากขึ้น
-ช่วยสร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียนการสอน
-ช่วยลดการบรรยายของครูผู้สอน
-ผู้สอนมีการตื่นตัวในการผลิตสื่อต่างๆให้น่าสนใจยิ่งขึ้น
หลักการเลือกสื่อการสอน
-สื่อนั้นต้องสัมพันธ์กับมาตราฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้
-เลือกสื่อที่มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ
-เป็นสื่อที่เหมาะสมกับวัย ระดับชั้นความรู้และประสบการณ์ของผู้เรียน
-สื่อนั้นควรสะดวกในการใช้ วิธีใช้ไม่ซับซ้อนมากเกินไป
-ต้องเป็นสื่อที่มีคุณภาพเทคนิคการผลิตที่ดี มีคาวมชัดเจนและเป็นจริง
วันพฤหัสบดีที่24มิถุนายน2553ครั้งที่2
การทำblogger ของวิชานี้พร้อมการเพิ่มสมาชิก
ให้กับอาจารย์เพื่อการตรวจให้คะแนน
หลังจากนั้นเริ่มการเรียนด้วยการแบ่งกลุ่มๆละ5คน
6กลุ่ม โดยมีเศษเกินมา1คน ให้นักศึกษาแก้ปัญหาร่วมกัน
โดยแสดงความคิดเห็นว่าจะทำอย่างไรกับเพื่อนกลุ่มที่มีสมาชิกเกิน
ทุกคนจึงอนุญาตให้เพื่อนกลุ่มนั้นมีสมาชิกเกินได้
แบ่งกลุ่มแล้วตอบคำถาม 4 ข้อ
โดยที่ให้สมาชิกให้กลุ่มแบ่งหน้าที่การเป็น
ประธาน
กรรมการ
เลขานุการ
ทุกคนจะต้องออกความคิดเห็นร่วมกัน ในแต่ละข้อต้องมีคำตอบของทุกคน
และไม่ซ้ำกัน
ให้กับอาจารย์เพื่อการตรวจให้คะแนน
หลังจากนั้นเริ่มการเรียนด้วยการแบ่งกลุ่มๆละ5คน
6กลุ่ม โดยมีเศษเกินมา1คน ให้นักศึกษาแก้ปัญหาร่วมกัน
โดยแสดงความคิดเห็นว่าจะทำอย่างไรกับเพื่อนกลุ่มที่มีสมาชิกเกิน
ทุกคนจึงอนุญาตให้เพื่อนกลุ่มนั้นมีสมาชิกเกินได้
แบ่งกลุ่มแล้วตอบคำถาม 4 ข้อ
โดยที่ให้สมาชิกให้กลุ่มแบ่งหน้าที่การเป็น
ประธาน
กรรมการ
เลขานุการ
ทุกคนจะต้องออกความคิดเห็นร่วมกัน ในแต่ละข้อต้องมีคำตอบของทุกคน
และไม่ซ้ำกัน
วันพฤหัสบดีที่17มิถุนายน2553ครั้งที่1
ปฐมนิเทศการเรียนวิชา สื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
พูดคุยถึงการเรียนของวิชานี้
ระเบียบการแต่งกายที่ถูกต้องของ
นักศึกษา คือ
-ทรงผม
-เสื้อที่ไม่ฟิดเกินไป
-กระโปรงยาวเกินเข่า
-เข็มขัดสีดำ
-รองเท้าสีดำ
ตกลงระเบียบการเข้าเรียนวิชานี้
-เข้าเรียน 08.30 น.
-เข้าสายได้ 15 นาที
-หลัง 09.00 น. เช็คขาดเรียน
งานชิ้นที่1 การทำประวัติส่วนตัว
-ชื่อ-นามสกุล
-ชื่อเล่น
-วันเดือน ปีเกิด
-ที่อยู่ภูมิลำเนาเดิม
-ที่อยู่ปัจจุบัน
-เบอร์โทร
-e-mail
-กู้เงินเงินเรียนหรือไม่
-ติดรูป
การทำblogger สะสมผลงานโดยใส่ความรู้ที่ได้จากการเรียน
ในแต่ละครั้งลงไปใน blogger ของเรา
พูดคุยถึงการเรียนของวิชานี้
ระเบียบการแต่งกายที่ถูกต้องของ
นักศึกษา คือ
-ทรงผม
-เสื้อที่ไม่ฟิดเกินไป
-กระโปรงยาวเกินเข่า
-เข็มขัดสีดำ
-รองเท้าสีดำ
ตกลงระเบียบการเข้าเรียนวิชานี้
-เข้าเรียน 08.30 น.
-เข้าสายได้ 15 นาที
-หลัง 09.00 น. เช็คขาดเรียน
งานชิ้นที่1 การทำประวัติส่วนตัว
-ชื่อ-นามสกุล
-ชื่อเล่น
-วันเดือน ปีเกิด
-ที่อยู่ภูมิลำเนาเดิม
-ที่อยู่ปัจจุบัน
-เบอร์โทร
-กู้เงินเงินเรียนหรือไม่
-ติดรูป
การทำblogger สะสมผลงานโดยใส่ความรู้ที่ได้จากการเรียน
ในแต่ละครั้งลงไปใน blogger ของเรา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)