อาจารย์ให้นักศึกษานำกล่องลังกระดาษ เพื่อนำมาทำป้ายนิเทศ โดยให้นักศึกษาเลือกหน่วยการเรียนรู้ที่เราสนใจ อาจารย์จะมีอุปกรณ์ต่างๆเตรียมไว้ให้ เช่น กาว กรรไกร กระดาษสี เป็นต้น จากนั้นก็ให้นักศึกษาลงมือทำโดยให้ส่งภายในชั่วโมง
ผลงาน
วันอังคารที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2553
วันพฤหัสบดีที่16กันยายน2553ครั้งที่11
วันนี้อาจารย์กิจกรรมให้นักศึกษาได้ทำ คือ การทำแป้งโดว์ โดยแบ่งเป็นพร้อมกับเตรียมอุปกรณ์ในการทำมาเองให้ครบตามสูตร จากนั้นก็ลงมือทำแป้งโดว์โดยช่วยกันทำทั้งกลุ่ม เมื่อเสร็จกิจกรรมแล้วก็ช่วยกันเก็บอุปกรณ์และทำความสะอาดภายในห้องเรียนและกลับไปทำกล่องใส่แป้งโดว์ของกลุ่มตัวเอง พร้อมกับออกแบบอุปกรณ์ที่จะใช้เล่นกับแป้งโดว์ โดยหาวัสดุเหลือใช้มาทำเป้นอุปกรณ์
วันพฤหัสบดีที่2กันยายน2553ครั้งที่9
วันที่อาจารย์ให้นักศึกษาทั้ง 2 กลุ่มเรียนร่วมกัน เนื่องจากนักศึกษายังส่งงานอาจารย์ไม่ครบทุกคน
จึงนัดส่งงานก่อน จากนั้นก็ขึ้นไปบนห้อง อาจารย์ได้นำ เกมการศึกษาที่เด็ก ๆ ใช้เล่นกัน
มาให้นักศึกษาได้ลองเล่นกัน
จึงนัดส่งงานก่อน จากนั้นก็ขึ้นไปบนห้อง อาจารย์ได้นำ เกมการศึกษาที่เด็ก ๆ ใช้เล่นกัน
มาให้นักศึกษาได้ลองเล่นกัน
วันพฤหัสบดีที่19สิงหาคม2553ครั้งที่8
อาจารย์ได้พูดถึงการอบรมเมื่อวันเสาร์ที่7สิงหาคม 2553 เกี่ยวกับ เกมการศึกษา
ซึ่งมี เกมการศึกษา มากมายที่นักศึกษาอาจจะไม่เคยเห็น มีการสาธิตวิธีการเล่นเกม
บอกถึงวิธีการทำ จากนั้นก็ให้นักศึกษาได้ดูเกมการศึกษาแต่ละชนิด
ภาพกิจกรรมในวันเสาร์
จากนั้นอาจารย์มอบหมายงานให้ทำเป็นงานกลุ่ม
โดยทำคนละ1ชิ้น โดยไม่ซ้ำแบบกัน
ภาพงานกลุ่ม
วันเสาร์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2553
วันพฤหัสบดีที่28กรกฎาคม2553ครั้งที่7
เนื่องจากอาจารย์ติดธุระ จึงสั่งงานให้ทำ
คือ เกมการศึกษา ซึ่งมีเนื้อหาอยู่ในใบงานที่อาจารย์แจกให้ และมีรูปแบบเกมการศึกษาที่หลากหลาย
จากนั้นก็ให้นักศึกษาเลือกทำเกมการศึกษามาคนละ1ชิ้น
เนื้อหา
1. กระดาษ100ปอนด์
2. ฟิวเจอร์บอร์ด
3. กรรไกร คัดเตอร์
4. กาว
5. ดินสอ ยางลบ
6. สี
วิธีทำ
1.นำฟิวเจอร์บอร์ดมาตัดในขนาดที่ต้องการ2แผ่น
2.เจาะฟิวเจอร์บอร์ดให้เป็นช่องสี่เหลี่ยม1แผ่น
3.วาดรูปลงในกระดาษ100ปอนด์แล้วระบายสีให้เรียบร้อย
4.ตัดส่วนที่ระบายสีออก นำส่วนที่เหลือไปแปะที่ฟิวเจอร์บอร์ดตรงช่องว่าง
ของฟิวเจอร์บอร์ด
4.นำภาพที่ระบายสีไปแปะใส่ฟิวเจอร์บอร์ดที่ตัดเป็นสี่เหลี่ยม
วิธีการเล่น
-นำภาพที่มีสีไปวางที่ภาพที่เป็นเพียงแค่เงาให้ถูกต้อง
คือ เกมการศึกษา ซึ่งมีเนื้อหาอยู่ในใบงานที่อาจารย์แจกให้ และมีรูปแบบเกมการศึกษาที่หลากหลาย
จากนั้นก็ให้นักศึกษาเลือกทำเกมการศึกษามาคนละ1ชิ้น
เกมการศึกษาที่ข้าพเจ้าเลือก เกมจับคู่ภาพเงา
เนื้อหา
เกมจับคู่ภาพเงาเป็นการช่วยให้เด็กมีการจำและการสังเกตที่ดีถึงรูปภาพต่างๆ
พัฒนาทางด้านประสาทความจำและการมองได้อย่างดี
ประสบการณ์สำคัญสำหรับเด็กคือ
เด็กจะมีความสนใจกับสิ่งอยู่ตรงหน้า ช่วยในการมองและสังเกตภาพต่างๆ
เด็กอาจจะเคยเห็นจากชีวิตประจำวัน ภาพสัตว์ต่างๆ หรือเครื่องใช้ที่เด็กเคยจับต้อง
และสนุกสนานกับการลองผิดลองดูในการจับคู่ภาพเงา
วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้
1. กระดาษ100ปอนด์
2. ฟิวเจอร์บอร์ด
3. กรรไกร คัดเตอร์
4. กาว
5. ดินสอ ยางลบ
6. สี
วิธีทำ
1.นำฟิวเจอร์บอร์ดมาตัดในขนาดที่ต้องการ2แผ่น
2.เจาะฟิวเจอร์บอร์ดให้เป็นช่องสี่เหลี่ยม1แผ่น
3.วาดรูปลงในกระดาษ100ปอนด์แล้วระบายสีให้เรียบร้อย
4.ตัดส่วนที่ระบายสีออก นำส่วนที่เหลือไปแปะที่ฟิวเจอร์บอร์ดตรงช่องว่าง
ของฟิวเจอร์บอร์ด
4.นำภาพที่ระบายสีไปแปะใส่ฟิวเจอร์บอร์ดที่ตัดเป็นสี่เหลี่ยม
วิธีการเล่น
-นำภาพที่มีสีไปวางที่ภาพที่เป็นเพียงแค่เงาให้ถูกต้อง
วันอังคารที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
วันพฤหัสบดีที่22กรกฎาคม2553ครั้งที่6
สื่อสำหรับเด็กปฐมวัย
ความหมายของสื่อการเรียนการสอน
-ทำให้สิ่งที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม
-ได้รบประสบการณ์ตรง จำได้นาน
-รวดเร็ว เพลิดเพลิน เข้าใจง่าย
ลักษณะสื่อที่ดี
-ต้องมีความปลอดภัย
-ประโยชน์ที่เด็กได้รับเหมาะสม
กับความสามารถของเด็กๆ ความสนใจ
-ประหยัด
-ประสิทธิภาพ
หลักการเลือกสื่อ
-คุณภาพดี
-เด็กเข้าใจง่าย
-เหมาะสมกับวัย
-เหมาะสมกับเวลาที่ใช้
-เด็กได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม
-ถูกต้องตามเนื้อหา ทันสมัย
-เด็กได้คิดเป็นทำเป็น กล้าแสดงออก
-เลือกให้เหมาะสมกับศูนย์
การประเมินการใช้สื่อ
(พิจารณาจากครูผู้ใช้สื่อเด็กและสื่อ)
-สื่อช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้เพียงใด
-เด็กชอบสื่อชนิดนั้นเพียงใด
-สื่อช่วยให้สอนตรงกับจุกประสงค์หรือไม่
ถูกต้องตามเนื้อหา ทันสมัย
เกมการศึกษา คืออะไร
เป็นกิจกรรมการเล่นที่เป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาด้านสติปัญญา
เป็นการเล่นที่ช่วยให้ผู้เล่นเป็นผู้มีความสังเกตดี ช่วยให้มองเห็นได้ ได้ฟัง
หรือคิดอย่างรวดเร็ว หรืออาจกล่าวว่าเกมการศึกษาหมายถึง
เกมที่เน้นกิจกรรมการเล่นโดยมีครูและกติกาที่ช่วยพัฒนาความคิด
เป็นพื้นฐานสำคัญของการเตรียมความพร้อมให้เกิดการเรียนรู้ด้วยความสนุกสนาน
มีจุดมุ่งหมายเฉพาะดังนี้
- เพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับการเล่นเกมประเภทสองมิติ
- เพื่อพัฒนาความสามารถที่จะอธิบายความแตกต่างของเกมในเรื่องสี รูปร่าง ขนาด
- เพื่อพัฒนาความสามารถในกการบอกลักษณะของสิ่งของซึ่งอาจเป็นนามธรรม
- เพื่อพัฒนาความสามารถในการจดจำคุณสมบัติ โดยนำมาวางในตาราง
- ฝึกการสังเกตและจำแนกด้วยสายตา
- ฝึกการคิดหาเหตุผล
- ฝึกการตัดสินใจ
ความหมายของสื่อการเรียนการสอน
-ทำให้สิ่งที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม
-ได้รบประสบการณ์ตรง จำได้นาน
-รวดเร็ว เพลิดเพลิน เข้าใจง่าย
ลักษณะสื่อที่ดี
-ต้องมีความปลอดภัย
-ประโยชน์ที่เด็กได้รับเหมาะสม
กับความสามารถของเด็กๆ ความสนใจ
-ประหยัด
-ประสิทธิภาพ
หลักการเลือกสื่อ
-คุณภาพดี
-เด็กเข้าใจง่าย
-เหมาะสมกับวัย
-เหมาะสมกับเวลาที่ใช้
-เด็กได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม
-ถูกต้องตามเนื้อหา ทันสมัย
-เด็กได้คิดเป็นทำเป็น กล้าแสดงออก
-เลือกให้เหมาะสมกับศูนย์
การประเมินการใช้สื่อ
(พิจารณาจากครูผู้ใช้สื่อเด็กและสื่อ)
-สื่อช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้เพียงใด
-เด็กชอบสื่อชนิดนั้นเพียงใด
-สื่อช่วยให้สอนตรงกับจุกประสงค์หรือไม่
ถูกต้องตามเนื้อหา ทันสมัย
เกมการศึกษา คืออะไร
เป็นกิจกรรมการเล่นที่เป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาด้านสติปัญญา
เป็นการเล่นที่ช่วยให้ผู้เล่นเป็นผู้มีความสังเกตดี ช่วยให้มองเห็นได้ ได้ฟัง
หรือคิดอย่างรวดเร็ว หรืออาจกล่าวว่าเกมการศึกษาหมายถึง
เกมที่เน้นกิจกรรมการเล่นโดยมีครูและกติกาที่ช่วยพัฒนาความคิด
เป็นพื้นฐานสำคัญของการเตรียมความพร้อมให้เกิดการเรียนรู้ด้วยความสนุกสนาน
มีจุดมุ่งหมายเฉพาะดังนี้
- เพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับการเล่นเกมประเภทสองมิติ
- เพื่อพัฒนาความสามารถที่จะอธิบายความแตกต่างของเกมในเรื่องสี รูปร่าง ขนาด
- เพื่อพัฒนาความสามารถในกการบอกลักษณะของสิ่งของซึ่งอาจเป็นนามธรรม
- เพื่อพัฒนาความสามารถในการจดจำคุณสมบัติ โดยนำมาวางในตาราง
- ฝึกการสังเกตและจำแนกด้วยสายตา
- ฝึกการคิดหาเหตุผล
- ฝึกการตัดสินใจ
วันพฤหัสบดีที่8กรกฎาคม2553ครั้งที่4
การแบ่งประเภทของสื่อ
-จัดตามระดับประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ที่ได้รับจากสื่อ
-ตามลักษณะของสื่อและวิธีการใช้งาน
แนวคิดของเอ็ดการ์ เดล (Edgar Dale)
ประกอบด้วยกรวยประสบการณ์ 11 กลุ่ม
1.ประสบการณ์ตรง
เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นรูปธรรมมากที่สุด
โดยการให้นักเรียนได้รับประสบการณ์โดยตรง
จากของจริง สถานการณ์จริงหรือด้วยการกระทำ
ของตนเอง เช่น การจับต้องและการมองเห็น เป็นต้น
2.ประสบการณ์รอง
เป็นการเรียนรู้โดยการให้ผู้เรียนเรียนจากสิ่งที่ใกล้เคียง
ความเป็นจริงที่สุด ซึ่งอาจเป็นของจำลองหรือ
สถานการณ์จำลองก็ได้
3.ประสบการณ์นาฏการหรือการแสดง
เป็นการแสดงบทบาทสมมติหรือการแสดงละครเพื่อ
เป็นการจัดประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนในเรื่องที่มีข้อ
จำกัดด้วย ยุคสมัยและสถานที่
4.การสาธิต
เป็นการแสดงหรือกระทำประกอบคำอธิบาย
เพื่อให้เห็นลำดับขั้นตอนของการกระทำนั้น
5.การศึกษานอกสถานที่
เป็นการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ต่างๆ
ภายนอกสถานที่เรียนอาจเป็นการท่องเที่ยว
การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
6.นิทรรศการ
เป็นการจัดแสดงสิ่งของต่างๆการจัดป้ายนิเทศ
เพื่อให้เกิดสาระประโยชน์และความรู้แก่ผู้ชม
7.โทรทัศน์
โดยใช้โทรทัศน์การศึกษาและโทรทัศน์เพื่อ
การเรียนการสอน เพื่อให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้เรียน
ที่อยู่ในห้องหรืออยู่ทางบ้าน
8.ภาพยนตร์
เป็นภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์
ลงบนฟิล์มเพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ทั้งภาพและเสียง
9.การบันทึกเสียง วิทยุ ภาพนิ่ง
เป็นได้ทั้งรูปของแผ่น เสียงหรือเทปบันทึกเสียง
ส่วนภาพนิ่งอาจจะเป็นเสียง
10.ทัศนสัญลักษณ์
เช่น แผนที่ แผนสถิติหรือเครื่องหมายต่างๆ
สิ่งที่เป็นสัญลักษณ์
11.วจนสัญลักษณ์
เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นนามธรรมมากที่สุด ได้แก่
ตัวหนังสือในภาษาเขียนและเสียงในคำพูดภาษาพูด
-จัดตามระดับประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ที่ได้รับจากสื่อ
-ตามลักษณะของสื่อและวิธีการใช้งาน
แนวคิดของเอ็ดการ์ เดล (Edgar Dale)
ประกอบด้วยกรวยประสบการณ์ 11 กลุ่ม
1.ประสบการณ์ตรง
เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นรูปธรรมมากที่สุด
โดยการให้นักเรียนได้รับประสบการณ์โดยตรง
จากของจริง สถานการณ์จริงหรือด้วยการกระทำ
ของตนเอง เช่น การจับต้องและการมองเห็น เป็นต้น
2.ประสบการณ์รอง
เป็นการเรียนรู้โดยการให้ผู้เรียนเรียนจากสิ่งที่ใกล้เคียง
ความเป็นจริงที่สุด ซึ่งอาจเป็นของจำลองหรือ
สถานการณ์จำลองก็ได้
3.ประสบการณ์นาฏการหรือการแสดง
เป็นการแสดงบทบาทสมมติหรือการแสดงละครเพื่อ
เป็นการจัดประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนในเรื่องที่มีข้อ
จำกัดด้วย ยุคสมัยและสถานที่
4.การสาธิต
เป็นการแสดงหรือกระทำประกอบคำอธิบาย
เพื่อให้เห็นลำดับขั้นตอนของการกระทำนั้น
5.การศึกษานอกสถานที่
เป็นการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ต่างๆ
ภายนอกสถานที่เรียนอาจเป็นการท่องเที่ยว
การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
6.นิทรรศการ
เป็นการจัดแสดงสิ่งของต่างๆการจัดป้ายนิเทศ
เพื่อให้เกิดสาระประโยชน์และความรู้แก่ผู้ชม
7.โทรทัศน์
โดยใช้โทรทัศน์การศึกษาและโทรทัศน์เพื่อ
การเรียนการสอน เพื่อให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้เรียน
ที่อยู่ในห้องหรืออยู่ทางบ้าน
8.ภาพยนตร์
เป็นภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์
ลงบนฟิล์มเพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ทั้งภาพและเสียง
9.การบันทึกเสียง วิทยุ ภาพนิ่ง
เป็นได้ทั้งรูปของแผ่น เสียงหรือเทปบันทึกเสียง
ส่วนภาพนิ่งอาจจะเป็นเสียง
10.ทัศนสัญลักษณ์
เช่น แผนที่ แผนสถิติหรือเครื่องหมายต่างๆ
สิ่งที่เป็นสัญลักษณ์
11.วจนสัญลักษณ์
เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นนามธรรมมากที่สุด ได้แก่
ตัวหนังสือในภาษาเขียนและเสียงในคำพูดภาษาพูด
วันพฤหัสบดีที่1กรกฎาคม2553ครั้งที่ 3
สื่อ
หมายถึงอุปกรณ์ต่างๆที่เป็นวัสดุ เครื่องมือหรือกิจกรรม
ที่ครูเลือกมาและวางแผนใช้รวมเข้ไปในเนื้อหาของหลักสูตรวิชาต่างๆ
อย่างเหมาะสมกับความต้องการ ระดับชั้นสติปัญญา และความสามารถ
ของนักศึกษาเพื่อให้กระบวนการการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สื่อการเรียนการสอน
หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่เป็นส่วนของเทคโนโลยีการศึกษา เป็นพาหะที่จะนำสาร
หรือความรู้ไปยังผู้เรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ เช่น วิดีทัศน์เป็นสื่อการสอน
สื่อการเรียน
หมายถึง ทุกอย่างทุกอย่างที่อยู่รอบตัวไม่ว่าวัสดุ อุปกรณ์และเทคนิควิธีต่างๆ
ที่ผู้สอนและผู้เรียนนำมาใช้ในการเรียน
คุณค่าสื่อ
-ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนได้เร็วขึ้น
-ช่วยให้สนใจบทเรียนและใช้ประสาทสัมผัสในการรับรู้ได้
-เข้าใจเนื้อหาบทเรียนที่ยุ่งยากซับซ้อนได้ง่ายขึ้น
-ให้ประสบการณ์รูปธรรมแก่ผู้เรียน และเกิดความประทับใจ
-ช่วยในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ สามารถนำประสบการณ์เดิมไปสัมพันธ์กับสิ่งใหม่ได้ต่อเนื่องกัน
-ส่งเสริมความคิด แก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์
-ช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนมากขึ้น
-ช่วยสร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียนการสอน
-ช่วยลดการบรรยายของครูผู้สอน
-ผู้สอนมีการตื่นตัวในการผลิตสื่อต่างๆให้น่าสนใจยิ่งขึ้น
หลักการเลือกสื่อการสอน
-สื่อนั้นต้องสัมพันธ์กับมาตราฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้
-เลือกสื่อที่มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ
-เป็นสื่อที่เหมาะสมกับวัย ระดับชั้นความรู้และประสบการณ์ของผู้เรียน
-สื่อนั้นควรสะดวกในการใช้ วิธีใช้ไม่ซับซ้อนมากเกินไป
-ต้องเป็นสื่อที่มีคุณภาพเทคนิคการผลิตที่ดี มีคาวมชัดเจนและเป็นจริง
วันพฤหัสบดีที่24มิถุนายน2553ครั้งที่2
การทำblogger ของวิชานี้พร้อมการเพิ่มสมาชิก
ให้กับอาจารย์เพื่อการตรวจให้คะแนน
หลังจากนั้นเริ่มการเรียนด้วยการแบ่งกลุ่มๆละ5คน
6กลุ่ม โดยมีเศษเกินมา1คน ให้นักศึกษาแก้ปัญหาร่วมกัน
โดยแสดงความคิดเห็นว่าจะทำอย่างไรกับเพื่อนกลุ่มที่มีสมาชิกเกิน
ทุกคนจึงอนุญาตให้เพื่อนกลุ่มนั้นมีสมาชิกเกินได้
แบ่งกลุ่มแล้วตอบคำถาม 4 ข้อ
โดยที่ให้สมาชิกให้กลุ่มแบ่งหน้าที่การเป็น
ประธาน
กรรมการ
เลขานุการ
ทุกคนจะต้องออกความคิดเห็นร่วมกัน ในแต่ละข้อต้องมีคำตอบของทุกคน
และไม่ซ้ำกัน
ให้กับอาจารย์เพื่อการตรวจให้คะแนน
หลังจากนั้นเริ่มการเรียนด้วยการแบ่งกลุ่มๆละ5คน
6กลุ่ม โดยมีเศษเกินมา1คน ให้นักศึกษาแก้ปัญหาร่วมกัน
โดยแสดงความคิดเห็นว่าจะทำอย่างไรกับเพื่อนกลุ่มที่มีสมาชิกเกิน
ทุกคนจึงอนุญาตให้เพื่อนกลุ่มนั้นมีสมาชิกเกินได้
แบ่งกลุ่มแล้วตอบคำถาม 4 ข้อ
โดยที่ให้สมาชิกให้กลุ่มแบ่งหน้าที่การเป็น
ประธาน
กรรมการ
เลขานุการ
ทุกคนจะต้องออกความคิดเห็นร่วมกัน ในแต่ละข้อต้องมีคำตอบของทุกคน
และไม่ซ้ำกัน
วันพฤหัสบดีที่17มิถุนายน2553ครั้งที่1
ปฐมนิเทศการเรียนวิชา สื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
พูดคุยถึงการเรียนของวิชานี้
ระเบียบการแต่งกายที่ถูกต้องของ
นักศึกษา คือ
-ทรงผม
-เสื้อที่ไม่ฟิดเกินไป
-กระโปรงยาวเกินเข่า
-เข็มขัดสีดำ
-รองเท้าสีดำ
ตกลงระเบียบการเข้าเรียนวิชานี้
-เข้าเรียน 08.30 น.
-เข้าสายได้ 15 นาที
-หลัง 09.00 น. เช็คขาดเรียน
งานชิ้นที่1 การทำประวัติส่วนตัว
-ชื่อ-นามสกุล
-ชื่อเล่น
-วันเดือน ปีเกิด
-ที่อยู่ภูมิลำเนาเดิม
-ที่อยู่ปัจจุบัน
-เบอร์โทร
-e-mail
-กู้เงินเงินเรียนหรือไม่
-ติดรูป
การทำblogger สะสมผลงานโดยใส่ความรู้ที่ได้จากการเรียน
ในแต่ละครั้งลงไปใน blogger ของเรา
พูดคุยถึงการเรียนของวิชานี้
ระเบียบการแต่งกายที่ถูกต้องของ
นักศึกษา คือ
-ทรงผม
-เสื้อที่ไม่ฟิดเกินไป
-กระโปรงยาวเกินเข่า
-เข็มขัดสีดำ
-รองเท้าสีดำ
ตกลงระเบียบการเข้าเรียนวิชานี้
-เข้าเรียน 08.30 น.
-เข้าสายได้ 15 นาที
-หลัง 09.00 น. เช็คขาดเรียน
งานชิ้นที่1 การทำประวัติส่วนตัว
-ชื่อ-นามสกุล
-ชื่อเล่น
-วันเดือน ปีเกิด
-ที่อยู่ภูมิลำเนาเดิม
-ที่อยู่ปัจจุบัน
-เบอร์โทร
-กู้เงินเงินเรียนหรือไม่
-ติดรูป
การทำblogger สะสมผลงานโดยใส่ความรู้ที่ได้จากการเรียน
ในแต่ละครั้งลงไปใน blogger ของเรา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)